“ปลาหมอคางดำ” ปราบจนเหลือศูนย์ตัว ปฏิบัติการที่เป็นไปไม่ได้

Поделиться
HTML-код
  • Опубликовано: 6 сен 2024
  • ยิ่งเสพข่าวปลาหมอคางดำ ก็ยิ่งมีแง่มุมพิลึกพิลั่นเข้าไปทุกที
    .
    บางแง่มุม ยิ่งทำให้ “ต่อมเอ๊ะ”ทำงานว่าเป็นเช่นนั้นจริงหรือไม่
    .
    ตัวอย่างไข่ปลาตากแดด 2 เดือน ยังฟักเป็นตัว เป็นไปได้หรือไม่ในทางชีววิทยา? หรือต้องอยู่ในสภาพแวดล้อมแบบใด?
    .
    หรือมีคลิปทางโซเชียลหลังจากผ่าท้องปลา เอาเครื่องในปลาออก ปล่อยลงน้ำ ปลาว่ายน้ำต่อได้ เป็นเพราะเหตุใด(สุดท้ายแล้วปลาตัวนั้นก็ตาย ใช่หรือไม่)
    .
    The People พูดคุยกับ ศ.ดร. สุชนา ชวนิชย์ รองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ และอาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในประเด็นข้างต้นและในอีกหลายประเด็น ตั้งแต่
    .
    - เราไม่ทราบว่าต้นตอการนำเข้ามากี่แบบ กี่ทางกันแน่
    - การนำเข้าปลาสวยงามมากมายที่เข้ามาแบบไม่มีข้อมูลบันทึกไว้ แล้วพอขายไม่ได้ ถ้าเป็นประเทศอื่นคือฆ่าเลย แต่ของเราคือปล่อยปลาลงแหล่งน้ำสาธารณะ
    - ปลาหมอคางดำ พฤติกรรมขณะที่อยู่ในถิ่นกำเนิดดั้งเดิม เทียบกับการเป็นปลาแปลกปลอมในถิ่นใหม่
    แตกต่างกันอย่างไร
    - เคยมีปลาช่อนปลาชะโด ระบาดที่สหรัฐอเมริกา แล้วมีการระดมล่า ได้ผลหรือไม่
    - ผู้ล่าที่ใส่ลงไปในแหล่งน้ำคิดว่ามาถูกทางหรือไม่
    - ยังไม่เห็นภาครัฐตื่นตัวในการป้องกันตั้งแต่ต้นทาง
    .
    คุณสามารถกดติดตาม The People ได้ที่ช่องทางต่อไปนี้
    Website: thepeople.co
    RUclips: / thepeoplecoofficial
    Instagram: / thepeoplecoofficial
    Twitter: / thepeople_co
    Podcasts: podcasts.apple...
    Spotify: spoti.fi/3asK57Y
    Soundcloud: bit.ly/3oMj6wE
    Blockdit: www.blockdit.c...
    Clubhouse: www.clubhouse....

Комментарии • 1

  • @None-zg9xt
    @None-zg9xt Месяц назад

    เห็นด้วยค่ะ